ttcexpert

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ

Assistant Professor Dr. Apichart Sonthisombat

"จะมุ่งมั่นพัฒนาการศึกษาด้านเคมีสิ่งทอ ช่วยเหลืออุตสาหกรรมฟอกย้อม พิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ เพื่อช่วยลดมลภาวะ

เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ลดต้นทุนการผลิต และการใช้ระบบประกันคุณภาพ เพื่อผลประโยชน์ของประเทศชาติ และประชาชนทุกคน"

"We are committed to transfer knowledge and experience in textile chemistry (textile preparation, dyeing,

printing, finishing and innovations) to all interested persons with professional advices and non-profits

in order to develop themselves continuously for better livings and environmentally friendly purposes. 

***********************

Recommended website for Textile Dyeing and Finishing Factories Please Click http://www.ttcexpert.com

--------------------------------------

twitter --> http://twitter.com/ttcexpert

 

CURRICULUM VITAE (Assistant Professor Dr. Apichart Sonthisombat)

 

1. Personal Details
     1.1 Name   : Apichart  Sonthisombat (scholar.google.co.th)
     1.2 Date of Birth  : ....
     1.3 Nationality   : Thai

     1.4 Marital Status  : Single

     1.5 Official Address  : Department of Textile Engineering

           Faculty of Engineering

           Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Klong 6, Rungsit-Nakornnayok Road,

           Prathumthani, 12110  THAILAND
e-mail: drapichart2006@hotmail.com
2. Education Qualifications

Institution 
Period
Qualification obtained
2.1 Rajamangala Institute of Technology, Thailand  1987-1989 B. Eng. (Textile Chemistry) (First Class Honour)
2.2 Department of Textile Industries,The University of Leeds, Leeds,United Kingdom 1992-1993 M. Sc. (Textile Dyeing and Finishing) with Distinction
2.3 Department of Textile Industries, The University of Leeds, Leeds, United Kingdom 1993-1997 Ph.D. (Textile Chemistry)

 

3. Previous Employment and Experience
 Shift Superintendent     Jongstit Co. Ltd. (Yarn Dyeing)

       (1987-1988)

4. Present Employment - Head of Public Relations Division, Faculty of Engineering, RMUTT - Lecturer in Department of Textile Engineering (1990 to date)

5. Position held
5.1 Lecturer in Textile Dyeing and Finishing Subjects
5.2 Supervisor of Bachelor Degree students in Textile Chemistry Engineering, Department of Textile Engineering, Faculty of Engineering,
Rajamangala University of Technology Thanyaburi.
5.3 Supervisor of Master Degree students, Department of Textile Engineering, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Thanyaburi.


6. Academic and Research Interests
     6.1 Field of Specialisation - Textile Chemistry (Dyeing and Finishing)

     6.2 Publications

1. Silk Degumming using Trypsin, Alkali with and without suface active agents followed by Trypsin, and alkali alone.  Investigated by gravimetric and scanning electron micro-scope methods., M.Sc. Dissertation, The University of Leeds, Leeds, 1993.

2. Molecular Weights of Polypeptide Fragments from Degraded Silk Fibroin, Ph.D. Thesis, The University of Leeds, Leeds, 1997.

3. Substructure from the ordered region of Bombyx  mori Silk Fibres, 662nd Meeting, Univeristy of Dundee, The Biochemical Society, London, 1997, p. S637.
4. Feasibility Study of using Thai Silk Fabric as a Bulletproof Vest, Research Project, Rajamangala Institute of Technology and Royal Thai Army's Research Institute, Bangkok, 1999.
5. Retarder Systems for Anti-mine Field Missiles (Little Viper), Research Project, Rajamangala Institute of Technology and Royal Thai Army's Research Institute, Bangkok, 1999.
6.
Sonthisombat, A. and Speakman, P.T., "Silk : Queen of Fibres - The Concise Story", Faculty of Engineering, RIT, 2004, pp. 1-28.
7. Prestige Prizes or Medals, won by Dr.Apichart, received were as follows:
7.1 Gold Prize from Korea Invention Promotion Association (KIPA) at Seoul International Invention Fair 2009 (SIIF 2009) from "A Utilization of Sericin and Fibroin Micro/Nanoparticles (Micro/Nano Silk) Finished on Single Jersey 100% Polyester Fibers Sportswear Shirts",
7.2 Silver Medal (as one of three researchers) from Asian Innovation Awards, Far Eastern Economic Review 1999 from Bullet Proof Vest from 100% Thai Silk Woven Fabrics
7.3 Excellent Researcher Award from Thai Military of Defense, Thailand.
7.4 Consolidate Award from National Research Council of Thailand (NRCT) from Bullet Proof Vest from 100% Thai Silk Woven Fabrics,
7.5 Best iTAP Partnership Award from Industrial Technical Assistance Program (iTAP), National Science and Technology Development Agency (NSTDA), Thailand,
7.6 Certificate as an expert for Thailand Labor Skill Development Project (5 years) from the Utah State University, Center for International Studies (USU/CID) and Department of Skill Development (DSD), Ministry of Labour, Thailand,
7.7 Corporate Member Certificate from The Society of Dyers and Colourists (SDC), United Kingdom in 1999.
7.8 Associate Industrial Engineer License for Professional Practice from Council of Engineers, Thailand.

------------------------------------

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ
ประวัติย่อ

1. ข้อมูลส่วนตัว
     1. ชื่อ-นามสกุล   : ผศ.ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ
     2. เลขทะเบียนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ภอ. 6506
และรหัสประจำตัวนักวิจัย (สกว.) 44-50-0009
     3. Corporate Member   (The Society of Dyers and Colourists, UK)

     4. Member    The Textile Institute, UK

     5. สมาชิกตลอดชีพ    สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย)

2. ตำแหน่งปัจจุบัน  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์
   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถนนรังสิต-นครนายก ต. คลองหก อ. ธัญบุรี

   จังหวัดปทุมธานี  12110 (2533- ปัจจุบัน)
e-mail: apichart.s@en.rmutt.ac.th และ drapichart2006@hotmail.com
3. วุฒิการศึกษา
สถาบันการศึกษา 
ปี พ.ศ.
วุฒิการศึกษาที่ได้รับ
คณะวิศวกรรมเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
2530-2533
วศ.บ. (วิศวกรรมเคมีสิ่งทอ) (เกียรตินิยมอันดับ 1)
Department of Textile Industries,The University of Leeds, Leeds,United Kingdom
2535-2536
M. Sc. (Textile Dyeing and Finishing) with Distinction
Department of Textile Industries, The University of Leeds, Leeds, United Kingdom
2536-2540
Ph.D. (Textile Chemistry)
4. ประกาศนียบัตร และผลงานที่ได้รับ
รางวัลผลงานดีเด่น
- ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ ที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง (Gold Prize) จาก Korea Invention Promotion Association ในงาน Seoul International Invention Fair 2009 (SIIF 2009) ในหัวข้อเรื่อง "A Utilization of Sericin and Fibroin Micro/Nanoparticles Finished on Single Jersey 100% Polyester Fibers Sportswear Shirts"
- ได้รับรางวัล Silver Medal นวัตกรรมยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย 1999 หน้า 1 | หน้า 2 | หน้า 3
- ได้รับรางวัล Best ITAP Partnership Award จากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
- ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเลิศ จากโครงการเสื้อเกราะกันกระสุนจากเส้นใยไหม 100% จากกระทรวงกลาโหม | รางวัลชมเชย สภาวิจัยแห่งชาติ จากโครงการเสื้อเกราะกันกระสุนจากเส้นใยไหม 100%
- ได้รับรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้นจากนายกชวน หลีกภัย | ถ่ายรูปหมู่นักวิจัยที่ได้รับรางวัล
- ได้รับประกาศนียบัตรร่วมโครงการพัฒนาฝีมือแรงงาน (5 ปี) จาก Utah State University, Center for International Studies (USU/CID) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงานฯ
- ได้รับวุฒิบัตรมีสิทธิ์ประดับเครื่องหมาย สงครามทุ่นระเบิดกิตติมศักดิ์ จากกองทัพบก
- โครงการระเบิดสายทำลายสนามทุ่นระเบิดรถถัง
- ได้รับวุฒิบัตรจาก SDC ประเทศอังกฤษ เป็น Corporate Member 17-02-1999

ตัวอย่างการผ่านการอบรมสัมมนา
- ภาพวาด ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ เป็นวิทยากร 5 ส | ภาพตอนเป็นวิทยากร 08-07-2541
- ผ่านการอบรมวิทยากร 5 ส
- ผ่านการอบรมการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา 21-24-02-2544
- ผ่านการอบรมด้านการฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่ง จาก ACIMIT 10-12-07-2002
- ผ่านการอบรม CAI Authorware Essential | Advanced Authorware
- ผ่านการอบรมด้านการบำบัดน้ำเสียจาก New England Interstate
- ผ่านการอบรมพัฒนาคุณภาพการศึกษา
- ผ่านการอบรม Internal Auditor 1-2-09-41
- ผ่านการอบรมเป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา
- ผ่านการอบรม ISO 9000
- ผ่านการอบรม ISO 9001:2000
- ผ่านการอบรมสัมมนาการสอนแบบ Competency Based Skill Training (CBST) 16-17-03-2000 เป็นต้น

5. ประสบการณ์
 - ตำแหน่งรักษาการหัวหน้าแผนกย้อมตู้ บริษัท จงสถิตย์ จำกัด (2530-2531)

-  เคยทำงานช่วยเหลือโรงย้อม และโรงงานอุตสาหกรรม ในด้านการควบคุมคุณภาพ
การลดต้นทุนการผลิต และระบบประกันคุณภาพ
   ISO 9000 อีกมากมาย

- เคยไปอบรมและดูงานด้านการผลิตสี และการผลิตสารช่วยย้อมที่ประเทศไต้หวัน และญี่ปุ่น
ปี 2534 (10 วัน)
 - ผ่านการอบรมสัมมนา "กิจกรรม 5ส" สำหรับวิทยากร, แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
   ด้วยระบบคุณภาพ ISO 9000, และ ผู้ตรวจติดตามคุณภาพภายใน
(IQA)
 - วิทยากรการทำกิจกรรม 5ส

 - เป็นที่ปรึกษาภายในประเทศของโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพพัฒนาแรงงาน ด้านเคมีสิ่งทอ ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
    กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ร่วมกับ Utah State University (USU) และ Consortium for International

    Development (CID)
ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2540 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2544
 - ที่ปรึกษาโครงการวิจัยและพัฒนาระเบิดสาย ของสำนักงานวิจัยและพัฒนาการทหารกลาโหม สำนัก
งานปลัดกระทรวงกลาโหม
 - เป็นคณะผู้วิจัยโครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเอาเส้นใยไหมไทยมาทำเป็นเสื้อเกราะกันกระสุน ของสำนักงาน
    วิจัยและพัฒนาการทหารกลาโหม (สวพ. กห.)

- ได้รับรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2543 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (สกว.)
- ได้รับรางวัลเหรียญเงิน "นวัตกรรมยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย ประจำปี 2542" จากโครงการเสื้อเกราะกัน-
   กระสุนจากเส้นใยไหมไทย 100%
- ได้รับเชิญจาก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการ
ประเมินผลโครงการ
  "การปรับปรุงคุณภาพของสีธรรมชาติในการย้อมผ้ายืดฝ้ายสำหรับการผลิตเสื้อผ้าเด็กอ่อนเพื่อการส่งออก"

   ของบริษัท กรีนแคร์ จำกัด ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2542 ถึงวันที่ 15 มีนาคม
2543
- ได้รับเชิญเป็นล่ามกิตติมศักดิ์ในการแปลแบบ Simultaneous ให้กับสมาคมผู้ผลิตเครื่องจักรและโรงงาน
เยอรมัน (VDMA)
  
เกี่ยวกับเทคโนโลยีเครื่องจักรสิ่งทอสมัยใหม่ในวันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2542 ณ โรงแรมแชงกรี-ลา
- ได้รับเชิญจาก สวทช. ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในกิจกรรมบริการปรึกษาทางอุตสาหกรรมสิ่งทอและฟอกย้อม
(Industrial Consultancy
  Services: ICS)

- เป็นคณะกรรมการโครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยวิศวกรรมศาสตร์แนวอุตสาหกรรม ตามความตกลงระหว่าง
  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล RWTH-Aachen และภาคอุตสาหกรรมเยอรมัน
- เข้าร่วมฝึกอบรมการสร้างโปรแกรม CAI ด้วยโปรแกรม Authorware

- เข้าร่วมฝึกอบรมการสร้างโปรแกรม CAI ด้วยโปรแกรม Advanced Authorware

- เป็นวิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรสิ่งทอ "ผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ" ในหัวข้อเรื่อง "การทำความสะอาด

  และการฟอกขาวเส้นใยโปรตีน" และ "การทำความสะอาดและการฟอกขาวเส้นใยสังเคราะห์"
ในวันที่ 14 สิงหาคม 2542 และวันที่
   28 สิงหาคม 2542 ตามลำดับ ณ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรม
   เครื่องนุ่งห่มไทย

- เป็นวิทยากรในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรสิ่งทอ "ผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ
รุ่นที่ 2" ในหัวข้อเรื่อง
  "การบรรยายภาพรวมการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ" ในวันที่ 30 ตุลาคม 2542
ณ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ
 
- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมเต็มเวลาระดับช่างฝีมือ และช่างเทคนิค ในหัวข้อเรื่อง "ความรู้เกี่ยวกับการพิมพ์ การย้อม และการตกแต่ง" หลักสูตรการจัดการสินค้าเครื่องนุ่งห่ม (ไม่จำกัดสาขา) ในวันที่ 23 มีนาคม 2543 เวลา 08:45-12:00 น.
จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย
- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมในสถานประกอบการหลักสูตร Apparel Merchandising หัวข้อ"ความรู้เกี่ยวกับการย้อม พิมพ์ และการตกแต่งสำเร็จ" ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2543 เวลา 15:30-18:00 น. ณ บริษัทโอเรียลตอล การ์เม้นท์ จำกัด ถนนศรีนครินทร์ กรุงเทพฯ จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย

- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมในสถานประกอบการหลักสูตร Apparel Merchandising หัวข้อ
"ความรู้เกี่ยวกับการย้อม พิมพ์ และการตกแต่งสำเร็จ" ในวันที่ 6 มิถุนายน 2543 เวลา 15:00-18:00 น. ณ บริษัทวี.ที.การ์เม้นท์ จำกัด สาธุประดิษฐ์ กรุงเทพฯ จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย
- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมหลักสูตร Apparel Merchandising หัวข้อ "ความรู้เกี่ยวกับการย้อมสีสิ่งทอ (Textile Dyeing)" ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2543 เวลา 8:30-12:00 น. ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย
- ได้รับเครื่องหมายสงครามทุ่นระเบิดกิตติมศักดิ์ จากกองทัพบก ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2543
- ครูฝึกระบบ CBST (Competency Based Skill Training) ในการทดสอบชุดฝึกเรื่อง Identification of Textile Materials ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดพิษณุโลก วันที่ 18-19 พฤษภาคม 2543
- ครูฝึกระบบ CBST (Competency Based Skill Training) ในการทดสอบชุดฝึกเรื่อง การเย็บจักรอุตสาห-กรรมเข็มเดี่ยว ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี วันที่ 25-26 กรกฎาคม 2543
- ครูฝึกระบบ CBST (Competency Based Skill Training) ในการทดสอบชุดฝึกเรื่อง การเย็บจักรอุตสาห-กรรมเข็มเดี่ยว ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดราชบุรี วันที่ 24-25 สิงหาคม พ.ศ. 2543
- ได้รับเชิญจาก วสท. (วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย) เป็นวิทยากรบรรยายในเรื่อง "การวิจัยและพัฒนาระบบหน่วง โดยใช้แถบหน่วง
(Retarder) ในวันศุกร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 เวลา 10.45-12.15 น. ณ ศูนย์การประชุมไบเทค บางนา
- ได้รับเชิญไปสอนครูฝึกของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ในโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพแรงงานไทย ชื่อโครงการ "การฝึกปฏิบัติการชุด
การฝึก CBST ในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน โครงการนำร่อง ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด
ระหว่างวันที่ 20-22 พฤศจิกายน 2543 ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคเหนือตอนบน จังหวัดลำปาง

- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมในสถานประกอบการหลักสูตร Apparel Merchandising หัวข้อ "ความรู้เกี่ยวกับการย้อมสิ่งทอ และการพิมพ์สิ่งทอ" ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2544 เวลา 08:30-16:30 น. ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย
- เข้ารับการอบรม "หลักสูตรการฝึกอบรมอาจารย์ที่ปรึกษาตามโครงการพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล" วันที่ 21-24 กุมภาพันธ์ 2544
- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมเต็มเวลาระดับช่างฝีมือและช่างเทคนิค เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าทำงานในภาคอุตสาหกรรม หัวข้อ "ความรู้เกี่ยวกับการพิมพ์ การย้อม และการตกแต่งสำเร็จ" ในวันที่ 21 มีนาคม 2544 เวลา 8.30-12.00 น. (หลักสูตรการจัดการสินค้าเครื่องนุ่งห่ม ปริญญาตรี สาขาเครื่องนุ่งห่ม) และในวันที่ 22 มีนาคม 2544 เวลา 8.30-12.00 น. (หลักสูตรการจัดการสินค้าเครื่องนุ่งห่ม ปริญญาตรี ไม่จำกัดสาขา) ณ ภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย
- เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เทคนิคในการควบคุมดูแลและระบบการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย จัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ระหว่างวันที่ 23-27 เมษายน พ.ศ. 2544 ณ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เครือข่ายความร่วมมือมหาวิทยาลัยไทยด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม (TUCEM)

และสมาคมนักวิชาชีพไทยในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา (ATPAC)
- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมในสถานประกอบการหลักสูตรเอกสารประกอบการสัมมนาหัวข้อเรื่อง
การตกแต่งผ้า/การย้อม/การพิมพ์ (ผ้ายีนส์/ผ้ายืด) หลักสูตร In-house Training: Design และความรู้เรื่องแฟชั่น ปี 2001 วันที่ 21 และ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 เวลา 09:00-16:00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานใหญ่ บิ๊กซี ราชดำริ กรุงเทพฯ จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย
- เป็นผู้อภิปรายร่วมในการสัมมนา เรื่อง "ITAP กับการสนับสนุนเทคโนโลยีแก่ SMEs" ในงานประชุมประจำปีของ สำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เรื่อง "เศรษฐกิจฐานความรู้ ก้าวใหม่ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย" วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
- เป็นวิทยากรบรรยาย และให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาฝีมือแรงงาน (สาขาสิ่งทอ) กับผู้บริหารกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน วันที่ 24 กรกฎาคมพ.ศ. 2544 เวลา 10.00-12.00 น. ณ โรงแรม เอส ซี ปาร์ค กรุงเทพฯ
- เป็นวิทยากรบรรยายในโครงการอบรมหลักสูตรพัฒนาผู้บริหารอุตสาหกรรมสิ่งทอ รุ่น 11 ของบริษัท ทีทีไอเอส จำกัด หัวข้อเรื่อง "กระบวนการพิมพ์ผ้าผืน/เสื้อผ้า" วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2544 เวลา 13.00-16.30 น. ณ โรงแรมธารา ถนนสุขุมวิท 26 กรุงเทพฯ
- เป็นวิทยากรบรรยาย ในโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การใช้และทดสอบชุดการฝึก (สื่อสิ่งพิมพ์) ตามระบบ CBST เพื่อสรุปปัญหาและปรับปรุงแก้ไข (CBST Field Test Seminar) ระหว่างวันที่ 30-31 สิงหาคม พ.ศ. 2544 ณ โรงแรมคาเมลอต จังหวัดชลบุรี จัดโดยสถาบันพัฒนาบุคลากรฝึกและพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
- เป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมเรื่อง "ก้าวทันเทคโนโลยีการศึกษา CAI" จัดโดยมหาวิทยาลัยนานาชาติมหิดล ร่วมกับบริษัท E.L.T. (Thailand) จำกัด วันที่ 28 พฤศจิกายน 2544 ณ โรงแรมอมารีวอเตอร์เกต กรุงเทพฯ (ร่วมกับ ดร.จิระ หงศ์ลดารมย์ รศ. ดร.ถวัลย์วงศ์ ไกรโรจนานันท์ และวิทยากรท่านอื่นๆ)
- เป็นวิทยากรหลักสูตร วิศวกรรมเสื้อผ้า รุ่นที่ 2/2545 ให้กับผู้ที่จบการศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ทั่วไป หัวข้อ "ความรู้เกี่ยวกับ การพิมพ์ การย้อม และการตกแต่งสำเร็จ" ในวันที่ 26 เมษายน 2545 เวลา 13.00-16.15 น. ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล จัดโดยมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย

- ได้รับเชิญจาก สวทช. วินิจฉัยปัญหาด้านเทคนิคในเบื้องต้น วันที่ 18-19 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ณ กลุ่มพัฒนาสตรีตำบลตูม อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษด้านการย้อมสีธรรมชาติ และสีเคมี บนผ้าไหมพื้นเมือง
- ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ เป็นตัวแทนของคณะฯ รับมอบเงินจำนวน 10,000 บาท จากคุณพิชัย อุตมาภินันท์ กรรมการผู้จัดการบริษัท ยูไนเต็ด เท็กซ์ไทล์ มิลล์ จำกัด ในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2545 ณ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ (เงินดังกล่าวบริษัทฯ ขอมอบให้เป็นการส่งเสริมสถาบันฯ นำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการที่มีประโยชน์ต่อไป)
- ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ และคณะ ttcexpert.com ได้รับเชิญจากสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ร่วมกันบรรยาย การปรับปรุงประสิทธิภาพ และเพิ่มผลผลิตในโรงย้อม ณ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กล้วยน้ำไท ระหว่างวันที่ 15-16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
- ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ และอาจารย์ปิยะพงษ์ อัศวศุภฤกษ์ เป็นวิทยากรงานสัมมนา บันไดสู่การผลิตและย้อมผ้าทออย่างมืออาชีพ วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดย สำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (ผู้เข้าฟังการสัมมนาประมาณ 200 คน) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ วรงค์เกรียงไกร ผู้อำนวยการโครงการ ITAP สวทช. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพงษ์ เลิศทัศนีย์ รักษาการผู้อำนวยการ สวทช. เครือข่ายภาคเหนือ คุณศิริพร ตันติพงษ์ รองประธานสภา อุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ คุณสุดาดวง พรหมชนะ กรรมการผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัดบ้านฝ้ายพรหมชนะ คุณวิกรณ์ พรหมชนะ กรรมการผู้จัดการ ห้างหุ้นส่วนจำกัด พรหมชนะพาณิชย์ ร่วมเดินทางมาเป็นเกียรติเข้าฟังการบรรยาย
- ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้รับเชิญจาก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เดินทางวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการผลิตสินค้า ณ บริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด จังหวัดขอนแก่น ในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2546
- ในวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2546 ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ พานักศึกษาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 34 คน เยี่ยมชมโรงงานผลิตสีย้อมทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย (บริษัทไทยแอมบิก้าจำกัด) ตั้งอยู่ที่ จังหวัดสมุทรปราการ
- ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ พานักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ เข้าเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท TTL Industries จำกัด บางเขน กรุงเทพฯ ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 โดยมี รองผู้จัดการโรงงาน และคุณสมพร พยอมใหม่ เป็นผู้บรรยายสรุปกระบวนการต่างๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม
- ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ได้รับเชิญจากสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ เป็นวิทยากร หลักสูตร "ความรู้สิ่งทอเบื้องต้น" เรื่อง การเตรียมวัสดุสิ่งทอ การย้อมสีสิ่งทอ การพิมพ์วัสดุสิ่งทอเบื้องต้น และการตกแต่งสิ่งทอ ระหว่างวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องสัมมนา 1 อาคารสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กล้วยน้ำไท กรุงเทพฯ
- ได้รับเชิญจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นวิทยากรฝึกอบรม หลักสูตร ผู้ตรวจติดตามระบบคุณภาพภายใน ISO 9001:2000 ในระหว่างวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546
- ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ได้รับเชิญจากสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ เป็นวิทยากรบรรยายหลักสูตร "การวิเคราะห์ตำหนิผ้าถัก" หัวข้อเรื่อง "การฟอกย้อมผ้าถัก" ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2546 ระหว่างเวลา 13.00-16.00 น. ณ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กล้วยน้ำไท กรุงเทพฯ

- ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ได้รับเชิญจากบริษัท แดนฟอส์ส (ประเทศไทย) จำกัด เป็นวิทยากรสำหรับงานสัมมนาผู้ร่วมงาน ของบริษัทในแถบเอเซีย (Textile Strategy Workshop 2003) เรื่อง กระบวนการฟอกย้อมและพิมพ์ผ้า (บรรยายภาษาอังกฤษ) ในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2546 เวลา 11.00-17.00 น. ณ โรงแรม ซีนิท สุขุมวิท กรุงเทพฯ
- ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ได้รับเชิญจากกองงานวิทยาเขต สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นวิทยากรในโครงการอบรมสัมมนาบันได สู่ช่างทอมืออาชีพ เพื่อให้ความรู้ในการย้อมสีแก่กลุ่มผู้ทอผ้าในจังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ 7-10 สิงหาคม พ.ศ. 2546 ณ คณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตน่าน จังหวัดน่าน

- ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ได้รับเชิญจากบริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด จังหวัดขอนแก่น เป็นวิทยากรฝึกอบรมด้าน ทฤษฎีการย้อมสีสิ่งทอ ในวันที่ 12-13 กันยายน พ.ศ. 2546 และวันที่ 4-5 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ บริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด จังหวัดขอนแก่น
- ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ เป็นวิทยากรเรื่อง "การจัดทำกิจกรรม 5ส และการจัดทำระบบคุณภาพ ISO 9001:2000" ให้กับนักศึกษา โครงการสหกิจศึกษาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 300 คน วันที่ 15 และ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ ห้องทองกวาว อาคารเรียนรวม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
- ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ได้รับเชิญจากมูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย เป็นวิทยากรหลักสูตร "วิศวกรรมเสื้อผ้า รุ่นที่ 1/2546" หัวข้อเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมวัสดุสิ่งทอ การย้อมสีสิ่งทอ การพิมพ์สิ่งทอ และการตกแต่งสิ่งทอ วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
- นำหนังสือผลงานวิชาการไปมอบให้กับบริษัท ไทยทาเคดะเลซ จำกัด อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2546

- ได้รับเชิญจาก บริษัท หวาไถ้ อุตสาหกรรม จำกัด นิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อเข้าเยี่ยมชม และเสนอแนะเพื่อพัฒนาปรับปรุงระบบปฏิบัติการในห้องทดลอง ในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เวลา 09.30-12.00 น.
- เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ บริษัทคาร์เปท เมกเกอร์ ประเทศไทย จำกัด จ.ขอนแก่น 15-16 พ.ย. 46
- เยี่ยมชมโรงย้อม บริษัท สยามบราเดอร์ จำกัด อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาในโรงย้อมเบื้องต้น ในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546
- เป็นวิทยากรบรรยาย และแนะแนวการศึกษาให้กับนักเรียน โรงเรียนสิงห์บุรี จ.สิงห์บุรี (ร่วมกับ อ.ขจร นราอารยะกุล, ดร.สมหมาย ผิวสะอาด, อ.บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว) 24 ธ.ค. 46
- อบรมหลักสูตร การลดต้นทุนน้ำ (อุตสาหกรรมสิ่งทอ) ห้องจิตรลดา โรงแรม เอส.ดี.อเวนิว กรุงเทพฯ 18 ธ.ค. 46
- เป็นวิทยากร ณ บริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ ประเทศไทย จำกัด จ.ขอนแก่น 20 ธ.ค. 46
- เป็นวิทยากรบรรยายเรื่องการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในโรงย้อม และเป็นที่ปรึกษาในการวางแผนสร้างและปรับปรุงโรงย้อม บริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ ประเทศไทย จำกัด จ.ขอนแก่น 13-14 ก.พ. 47

- เป็นวิทยากรแนะนำคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ณ โรงเรียนช่างฝีมือทหาร กรุงเทพ (ร่วมกับ อ. พ.จ.อ.ศักดิ์ชัย จันทศรี) 1 มี.ค. 47
- เข้าร่วมการประชุมเสวนา เพื่ออุตสาหกรรมสิ่งทอไทย ภายในงาน GFT 2004 เรื่อง "Supply Chain & Logistic Management for Textile & Apparel" และ เรื่อง "การปรับตัวของอุตสาหกรรมฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสำเร็จสิ่งทอต่อการเปลี่ยนแปลงของแฟชั่นโลก" ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค (บางนา) 25 มิ.ย.47
- เดินทางเป็นที่ปรึกษาโครงการสร้างและปรับปรุงโรงย้อมบริษัทคาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด จ.ขอนแก่น 8 ก.ค. 47
- เป็นวิทยากรหลักสูตร การเตรียมสิ่งทอ เรื่อง "การทำความสะอาดสิ่งทอ" ณ ห้องประชุม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ 21 ก.ค. 47 09.00-12.00 น.
- เป็นวิทยากรเรื่องการย้อมสีให้กับพนักงานของบริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างวันที่ 16-17 มกราคม พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมของ MD บริษัทคาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด จังหวัดขอนแก่น

- เป็นวิทยากรเรื่องการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในโรงย้อมให้กับผู้บริหาร และพนักงานระดับสูง ของบริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด ระหว่างวันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547
ณ ห้องประชุมของ MD บริษัทคาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด จังหวัดขอนแก่น
- ประชุมให้คำปรึกษา และมอบหนังสือตำรา ทางวิชาการด้านเคมีสิ่งทอ ให้กับคุณสุนทร ไกรตระกูล กรรมการผู้จัดการ บริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2547 ณ โรงงานของบริษัทฯ
- ได้รับเชิญจากบริษัท สยามบราเดอร์ จำกัด อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ สอนเรื่องพื้นฐานการย้อมสี ให้กับพนักงานของบริษัทฯ ในวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุม และโรงย้อมของบริษัทฯ
- ต้อนรับ ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ บรูไนดารุสซาลาม His Excellency Pehin Orang Kaya Laila Wijaya Dato Seri Abdul Aziz Umar ได้ให้เกียรติเยี่ยมชมภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ระหว่างเวลา 13.00-15.00 น. ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศรม.
- ได้รับเชิญจาก สวทช. เป็นวิทยากรร่วมบรรยายในงานประชุมประจำปี ของ สวทช. ในหัวข้อเรื่อง "นาโนเทคโนโลยีโอกาสทางธุรกิจ" วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ จ.ปทุมธานี

- นำหนังสือตำราวิชาการด้านสิ่งทอ (ฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ) ที่เขียนขึ้นเองทั้งหมด ไปมอบให้กับ หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร บริษัท สว่างเท็กซ์ไทล์ จำกัด และ บริษัท สิ่งทอซาติน จำกัด ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ณ หน่วยงานทั้งสามหน่วยงาน
- ได้รับเชิญจากสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ เป็นวิทยากรในหลักสูตรอบรม "การเตรียมสิ่งทอ" เรื่อง การทำความสะอาดวัสดุสิ่งทอ วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้อง 201 ชั้น 2 อาคาร 36 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ
- ได้รับเชิญเข้าประชุมหารือเรื่องนาโนเทคโนโลยี ร่วมกับ ดร.ชาญชัย สิริเกษมเลิศ (ผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ) ในวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมชั้น 4 สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
- นำหนังสือตำราด้านฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ ที่แต่งขึ้นเอง ไปมอบให้กับคุณวรชัย ปัฐพาณิชย์โชติ รองกรรมการผู้จัดการบริษัท อุตสาหกรรมสยามซินเธทิคเท็กซ์ไทล์ จำกัด ในวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมของบริษัทฯ
- เข้าร่วมการประชุมของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สาขาสิ่งทอ (Textile Meeting) ณ วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2547 ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพฯ

- เข้าร่วมสัมมนา ”Nanotechnology: A new Frontier for the Food Industry” ณ ห้องสัมมนา 2204 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( 15 ก.ย. 47)

- สัมมนาเรื่อง Technical Textiles : Idea for R&D โครงการสนับสนุนการวิจัยพัฒนา Technical Textiles สาขาก่อสร้าง การแพทย์ การกีฬา การเกษตร และยานยนต์ ห้องพิมาน ชั้น 14 โรงแรมวินเซอร์ สวีท กรุงเทพ ( 20 ต.ค. 47)

- ประชุมโครงการพัฒนารถยนต์ตรวจสถานที่เกิดเหตุ ห้องประชุมกองวิทยาการภาค 1 เขต 2 จังหวัดชลบุรี (3 พ.ย. 47)

- เข้าร่วมการประชุมผู้บริหารราชมงคล ห้องประชุมคณะวิทยาศาสตร์ ศรม. (18-20 พ.ย. 47)

- เป็นอาจารย์พิเศษ บรรยายเรื่อง กระบวนการทางเคมีสิ่งทอ และ นาโนเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสิ่งทอ (6 ชั่วโมง ) ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร หนองจอก กรุงเทพฯ (11 ธ.ค. 47 )

- เป็นกรรมการโครงการสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา Technical Textiles เข้าร่วมประชุมพิจารณา และสรุปข้อเสนองานวิจัย ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 3 อาคารสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอกรุงเทพฯ (14 ธ.ค. 47)

- รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหาด้านอุตสาหกรรม บริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ประเทศไทย ) จำกัด อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ( 5-6 ม.ค. 2548 ) (2 ก.พ. 2548) (16 ก.พ. 2548)

- เข้าตรวจกิจกรรมคุณภาพภายใน ( ISO 9001:2000) หน่วยงาน ฝ่ายต่างๆ และ แผนกต่างๆ ของ มธร.ธัญบุรี (21-25 ก.พ. 2548 )

- อบรมสัมนาโครงการการประกันคุณภาพการศึกษา ณ ห้องประชุมบัวน้ำเงิน ชั้น 4 อาคารสนง.อธิการบดี มทรธ. ( 3 มี.ค. 2548)

- ได้รับเชิญ เป็นวิทยากรการฝึกอบรมหลักสูตร “ การปรับปรุงสภาพผ้าฝ้ายและการดูแลรักษาให้เหมาะสม ต่อการแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ผ้า ” ให้กับกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตสินค้า OTOP จากผ้าฝ้ายในจังหวัดสกลนคร จำนวน 11 กลุ่ม (ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม 25 คน) ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ( 4-5 เม.ย. 2548) 

- เดินทางไปศึกษาดูงาน EXPO 2005 ( Japan Pavilion, Toyota Pavilion, Robot Project etc.) ณ จังหวัดอะอิจิ ศึกษาดูงาน Kyoto University และ Kyoto Institute of Technology นครเกียวโต และศึกษาดูงาน National Institute of Advanced Industrial Science and Technology นครโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 16-22 เมษายน พ.ศ. 2548

- เข้าร่วมการประชุมสัมมนาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระหว่างวันที่ 16-18 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ณ โรงแรมสองพันบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี

- เข้าร่วมการประชุมสัมมนาการจัดทำหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระหว่างวันที่ 20-22 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ณ โรงแรมราชศุภมิตร จังหวัดกาญจนบุรี

- โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ จัดงานสัมมนาเรื่อง “ สุดยอด...เทคนิคการจัดการสิ่งทอ : เทคโนโลยีสะอาดทำกำไรได้จริงหรือ ?” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ เป็นวิทยากร พร้อมกับคณะวิทยากรที่มาร่วมเสวนาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาของโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ ในวันที่ 26-27 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ณ ห้องกมลทิพย์ ชั้น 2 โรงแรมสยามซิตี้ ราชเทวี กรุงเทพฯ

- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ อาจารย์จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ร่วมกับคุณอำนาจ พัฒน์ทอง และคุณวิศัลย์ ณ ระนอง ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ บริษัท เท็กซ์เท็ค อินดัสตรี้ (ประเทศไทย) จำกัด อ. สามพราน จ. นครปฐม ในวันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ณ ห้องประชุมของบริษัท ซึ่งมี คุณโจเอล เอลด์ริดจ์ กรรมการผู้จัดการบริษัท และคุณวีรศักดิ์ บุตรสาลี ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ ให้การต้อนรับ

- ได้รับหนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ บริษัท ก้องเกียรติเท็กซ์ไทล์ จำกัด อ.หนองแค จ.สระบุรี ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2548

- รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ บริษัท สามปฐมชัยการทอ จำกัด อ.เมือง จ.นครปฐม มิถุนายน พ.ศ. 2548

- รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ บริษัท พันธ์-ชื่น จำกัด อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ ในวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2548 และบริษัท นิวเวิร์ลอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ในวันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2548

- รับเชิญจากคุณดวงใจ เอื้อพาพรกุล ประชาสัมพันธ์ โครงการ ITAP สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ของบริษัท ไอ แอนด์ ไอ คอมมิว-นิเคชั่น จำกัด โดยสัมภาษณ์สด (ทางโทรศัพท์) ออกอากาศ ในรายการ “ ความรู้สู่ชุมชน ” วิทยุเพื่อการศึกษา FM 92 MHz ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้กับภาคอุตสาหกรรมสิ่งทอ ใน วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2548 เวลาตั้งแต่ 10.30-11.00 น. (30 นาที) ฟังเสียงได้ที่นี่ครับ

- รับหนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ บริษัท คาร์เปทเมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด อ.บางไผ่ จ.ขอนแก่น ในวันพุธที่ 6 กรกฏาคม พ.ศ. 2548

- เป็นผู้ประสานงานกับคุณวิศัลย์ ณ ระนอง เพื่อมอบเงินทุนให้กับนักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ จำนวน 1 ทุน โดยมี ดร.สมนึก สังข์หนู หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ และนักศึกษาที่ได้รับทุน เป็นผู้รับมอบ ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ

- เป็นกรรมการจัดงานโครงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ไหว้พระ 9 วัด (อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา) โดยมีบุคลากรของคณะวิศกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เข้าร่วมโครงการประมาณ 40 คน เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

- นำผลงานวิชาการไปมอบให้กับผู้จัดการโรงย้อม ของบริษัท ก้องเกียรติเท็กซ์ไทล์ จำกัด จ.สระบุรี ในวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

- พานักศึกษาเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท Jaspal and Son จำกัด จ. สมุทรปราการ และ บริษัทสยามบราเดอร์ จำกัด จ. สมุทรปราการ ในวันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ . ศ . 2548

- รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาด้านเทคนิคของภาคอุตสาหกรรม ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เครือข่ายภาคเหนือ ณ โรงย้อมผ้าก่ำปอ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ในวันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2548

- เป็นประธานฝ่ายกิจกรรมในการจัดงานโครงการจัดนิทรรศการ 30 ปี วิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี เมื่อวันที่ 16-18 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ณ บริเวณโซนไอที ชั้น 3 ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ครังสิต จ.ปทุมธานี โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมบูธประมาณ 3 , 000 คน

- ได้รับเชิญ และเดินทางไปเป็นวิทยากรสอนวิชา “ การย้อมสีสิ่งทอ ” ในระหว่างวันที่ 20-21 และ 27-28 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่

- รับหนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ บจก.อินเตอร์ภรณ์เท็กซ์ไทล์ จังหวัดราชบุรี ในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2548

- รับหนังสือเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ( ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ บริษัท ไทยสปินนิ่ง จำกัด ไทรน้อย นนทบุรี และ บจก.สยามไดมาสเตอร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2548

- คณะนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 5 จากโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุง จ.ปทุมธานี จำนวน 6 คน ขอเข้าชมเครื่องย้อมพลังงานแสงอาทิตย์ โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ให้การต้อนรับ ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2548

- คณะอาจารย์จำนวน 5 ท่านและนักเรียน จำนวน 32 คน จากโรงเรียนอนุบาลปทุมธานี เข้ารับการฝึกอบรมการทำผ้าบาติก ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ โดยมีหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ อ.สมนึก สังข์หนู ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ และนักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ ให้การต้อนรับและฝึกปฏิบัติการทำผ้าบาติกร่วมกันกับนักเรียนและอาจารย์ ในวันที่ 5 กันยายน 2548

- สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ถ่ายทำเทปบันทึกภาพ เรื่องเครื่องย้อมพลังงานแสงอาทิตย์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภวิทย์ ลวณะสกล และ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ-ย้อมสี ให้สัมภาษณ์ ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ

- ได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาในการวางแผนการฝึกอบรมระบบ CBST เพื่อใช้พัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง ช่างทอพรมด้วยมือ ในวันที่ 12-13 กันยายนพ . ศ . 2548 ณ บริษัทคาร์เปท เมกเกอร์ ( ประเทศไทย ) จำกัด จ.ขอนแก่น

- เข้าร่วมการสัมมนาเชิงปฎิบัติการเรื่องระบบประกันคุณภาพและการกำหนดตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุระหว่างวันที่ 19-21 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ โรงแรมเดอะโรสการ์เด้น สวนสามพราน จ. นครปฐม

- เข้าชมงาน BIFF & BIL 2005 ณ ศูนย์ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2548

- เป็นที่ปรึกษาในการเรียนรู้และสอนงานโดยใช้เทคนิค Competency Based Skill Training (CBST) ณ บริษัท คาร์เปทเมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด อ.บางไผ่ จ.ขอนแก่น วันที่ 7-8 ต.ค. 2548
- ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (ITAP) ณ บริษัท แปซิฟิค คาร์เปท จำกัด วันที่ 9 พ.ย. 2548
- ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย(ITAP) สวทช. ณ ห้างหุ้นส่วนสามัญ ก๋ำปอ (คณะบุคคล) จ.เชียงใหม่12-14 พ.ย. 2548
- เป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาโท ณ ภาควิชาวิศกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ขอนแก่น 24 พ.ย. 2548
- ได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาประเมินโครงการ สวทช. 4 ประหยัดพลังงานในโรงย้อม ของ บ. คาร์เปทเมกเกอร์ (ประเทศไทย) จำกัด อ.บางไผ่ จ.ขอนแก่น 25-26 พ.ย. 2548
- ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย(ITAP) สวทช. ณ ห้างหุ้นส่วนสามัญ ก๋ำปอ (คณะบุคคล) จ.เชียงใหม่ 10-11 ธ.ค. 2548
- ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ณ หสม.ก๋ำปอ จังหวัดเชียงใหม่ 6-8 ม.ค. 2549

- ประชุมคณะกรรมการโครงการสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา Technical Textile สาขาการกีฬา ณ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กล้วยน้ำไท 16 ม.ค. 2549
- ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ณ บจก. ไทยเอียะเส็ง 20 ม.ค. 2549
- ประชุมสัมมนาเครื่องจักรกลสิ่งทอเยอรมัน (German Textile Machinery Symposium) ณ โรงแรมฮอลิเดย์อินน์ สีลม 7-8 ก.พ. 2549
- ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ณ บจก. จรูญไหมไทย 10 ก.พ. 2549
- เป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อเยี่ยมชมและให้คำแนะนำในการแก้ไขปัญหาให้กับสมาชิกของสมาคมสิ่งทอล้านนา ณ ที่ทำการสมาคมสิ่งทอล้านนา จ.เชียงใหม่ 11-12 ก.พ. 2549

- ไปประชุมสัมมนา เรื่อง “Reporting Seminar of Model Project  on Energy and Water Saving in Textile Dyeing and Finishing Industry” ณ ห้องบอลรูม 2 โรงแรมแชงการีล่า 9 มี.ค. 2549
- ได้รับเชิญเป็นกรรมการสอบโครงงานวิจัยอุตสาหกรรมระดับบัณฑิตศึกษา ณ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 17 มี.ค. 2549

- ได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยปัญหาด้านเทคนิคของภาคอุตสาหกรรม ณ หจก. เมฆไหมไทย และ บจก. ลักกี้ไชเดอะ อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา 30-31 มี.ค. 2549
- ได้รับเชิญเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ โครงการบัณฑิตศึกษา ณ สาขาวิศวกรรมโยธา ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 7 เม.ย. 2549
- ไปเป็นวิทยากรงานสัมมนาวิชาการ เรื่อง “สุดยอด...เทคนิคการจัดการสิ่งทอ”
โรงแรมโซฟิเทล จังหวัดขอนแก่น 28-29 เม.ย. 2549

- 23 ธ.ค. 2549 คุณจิรายุ หลิมเปีย จ.สมุทรปราการ ขอซื้อหนังสือตำราเกี่ยวกับโรงงานแหอวน

- 27 ก.พ. 50 สำนักงานประสาน โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องจากพระราชดำริ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย ขอหนังสือ เรื่อง การนำเอานาโนเทคโนโลยีมาใช้กับสิ่งทอ

- ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม (คณบดี) และ ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ เข้าร่วมพิธีลงนามถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อ "ล้างทุจริตให้สิ้นแผ่นดินไทย เพื่อเทิดไท้องค์ราชัน" เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในวันพุธที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ณ ห้องประชุม ชั้น 5 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดปทุมธานี

- 9 ก.ค. 50 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.สงขลา ขอเรียนเชิญเป็นผู้พิจารณาตรวจสอบคุณภาพโครงการวิจัย 1 โครงการ
- 27 ก.ค. 50 ฝ่ายคุณภาพสิ่งแวดล้อม และห้องปฏิบัติการ กรมควบคุมมลพิษ ขอความอนุเคราะห์ข้อมูลด้านเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษและการจัดการสิ่งแวดล้อม
- 27-28 ก.ค.50 09.00-17.00 น. สถานบริการวิศวกรรม ม.เชียงใหม่ และ หจก.บัวผัดแฟคทอรี่ จ.เชียงใหม่
ผู้เชี่ยวชาญดำเนินการโครงการให้คำปรึกษาเรื่อง “การพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมผ้า”

- เป็นกรรมการดำเนินงานโครงการปลูกป่าชายเลนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนคินทร์ ในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมมายุ 84 พรรษาในระหว่างวันที่ 19-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 จำนวน 2,000 ต้น (เนื้อที่ 5 ไร่) ณ ป่าชายเลน ตำบลคลองโคน อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน

- ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย เป็นวิทยากรร่วม ในงานการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมงานประกันคุณภาพ เรื่อง ระบบ และกลไกด้านประกันคุณภาพสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จำนวน 90 คน ระหว่างวันที่ 25-26 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ณ ศรีปทุม ลองสเตย์ รีสอร์ท จ. ปทุมธานี

- ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย และ อาจารย์ปิยะพงษ์ อัศวศุภฤกษ์ (อ.พิเศษ) เป็นวิทยากรในงานฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิตให้กับพนักงานย้อม และเดินทางเป็นวิทยากรในงาน การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการเทียบสี ผสมสี และย้อมสี ณ ห้างหุ้นส่วนจำกัด บัวผัดแฟคทอรี่ อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ ในวันที่ 1-2 กันยายน พ.ศ. 2550

- 1-2 ก.ย. 50 09.00-17.00 น. สถานบริการวิศวกรรม ม.เชียงใหม่ และ หจก.บัวผัดแฟคทอรี่ จ.เชียงใหม่
ผู้เชี่ยวชาญดำเนินการโครงการให้คำปรึกษาเรื่อง “การพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมผ้า”
- 3,10,14 ก.ย.50 09.00-15.00 น. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรรมการตรวจรับพัสดุ ชุดการฝึก CBST สาขา Basic/Advanced Textile
- 11-21 ก.ย. 50 11 วัน ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญในการดำเนินกิจกรรมสำหรับการเดินทาง ไปเสาะแสวงหาเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมนี และอิตาลี
- 4-7 ต.ค. 50 10.00-18.00 น. สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงานโครงการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “มิติใหม่ราชมงคลเพื่ออุตสาหกรรมไทย ครั้งที่ 2” ณ อาคารอิมแพค และอาคารชาเลนเจอร์ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี
1. สีธรรมชาติอัดเม็ด
2. เครื่องผลิตโฟมสำหรับการย้อมสีและตกแต่งสิ่งทอ
- 26 พ.ย. 50 นักศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (CEO MBA) ม.หอการค้าไทย ขอรายละเอียดในการนำเทคโนโลยีนาโนมาใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ
- 21 ธ.ค. 50 14.00-15.30 น. ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ บรรยายสรุปในหัวข้อ “เก็บตกงาน ITMA 2007” และบรรยายพิเศษในหัวข้อ “สิ่งน่าสนใจที่ Turin University” ณ ห้องประชุม สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
- 27 ธ.ค. 50 หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี วิทยาการอบรมผู้ประกอบการ ในหัวข้อ กระบวนการย้อมสีผ้า ให้มีสีที่ติดทนนาน ไม่ซีดจาง

- คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม) ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ และ อาจารย์วิโรจน์ พิราจเนนชัย ร่วมเดินทางไปกับคณะศึกษาดูงานการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ณ EWHA University, Pohang University of Science and Technology และศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร ณ พิพิธภัณฑ์อุปกรณ์สื่อสาร ของบริษัท LG จำกัด และบริษัท SK Telecom จำกัด ประเทศเกาหลี ระหว่างวันที่ 17-22 มิถุนายน พ.ศ. 2550

- ได้รับรางวัล BEST iTAP PARTNERSHIP AWARD จากศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สวทช. เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2550 เนื่องในโอกาสที่ได้ร่วมงานกับโครงการ iTAP สวทช. เป็นเวลา 10 ปีเต็มๆ ดูประกาศนียบัตรที่นี่ครับ

- 19 มี.ค. 51 10.00-12.00 น. iTAP สวทช. บ.เฟมิน่าเลซไดย์เวริคส จำกัด จ.ชัยนาท วินิจฉัยปัญหาเบื้องต้นในโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย
- 18 เม.ย. 51 สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร ผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ ประจำวารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร
- 1 พ.ค. 51 1 ปี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) อนุกรรมการโครงการ “โครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี” ลำดับ 363
- 30 พ.ค. 51 08.00-17.00 น. ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญเข้าวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น บริษัทบิ๊กไพศาลพิมพ์ย้อมจำกัด จ.นครปฐม บริษัทไฟน์ ฟล็อค ไทยแลนด์ จำกัด จ.นครปฐม
- 26 มิ.ย. 51 และ 26 ก.ค. 51 2 วัน บริษัทไฟน์ ฟล็อค (ไทยแลนด์) จำกัด จ.นครปฐม ผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาด้านกระบวนการผลิตผ้ากำมะหยี่ (พัฒนาสูตร)
- 9 ก.ค. 51  15.15-16.00 น. สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
วิทยากรบรรยายเรื่อง การผลิตอนุภาคนาโนเซริซิน และไฟโบรอินเพื่อนำมาใช้ในการตกแต่งบนเสื้อผ้ากีฬา ณ ห้องแกรนด์บอลลูม ชั้น 3 โรงแรมเซนจูรี่พาร์ค จ.กรุงเทพ
- 16 ส.ค. 51  1 วัน หจก.บัวผัดแฟคทอรี่ จ.เชียงใหม่ ให้คำปรึกษาแนะนำในเรื่องส่วนประกอบของวัตถุดิบ รวมทั้งให้คำแนะนำเพิ่มเติมในด้านการย้อมสี
- 20 ส.ค. 51 13.00-16.00 น. ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรรมการประเมินโครงการการให้คำปรึกษาแก่บริษัท ไทยนำโชค เท็กซ์ไทล์ จำกัด เรื่อง “การย้อมฝ้ายและเส้นฝ้ายด้วยสีธรรมชาติในระดับโรงงาน”
- 22 ส.ค. 51 09.30-12.00 น. ภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.เกษตรศาสตร์ บางเขน
กรรมการวิพากษ์หลักสูตรปริญญาโทสาขาสิ่งทอและแฟชั่น

***ขอเชิญชมรายการโทรทัศน์ ที่ ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ เป็นวิทยากร โดยบันทึกรายการ ณ อาคารผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ ม.สุโขทัยธรรมาธิาช เรื่อง "การผลิตอนุภาคไมโครนาโนเซเรซินและไฟโปรอิน เพื่อนำไปใช้ในการตกแต่งบนเสื้อผ้ากีฬาโพลิเอสเตอร์ 100%" ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ แห่งประเทศไทย และทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม True Visions ช่อง 193 และทางช่องสัญญาณดาวเทียม DLTV 8 (ช่อง 88) ในวันเสาร์ที่ 22 และวันอาทิตย์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 เวลา 14.00-14.30 น.***

----------------------------------------

6. หน้าที่ที่รับผิดชอบ
- อาจารย์สอนวิชา เช่น วิทยาศาสตร์เส้นใย, กระบวนการย้อมสีขั้นต้น และขั้นสูง กระบวนการพิมพ์สิ่งทอขั้นต้น และขั้นสูง
สารเคมีในงานเคมีสิ่งทอ วิศวกรรมโรงงานเคมีสิ่งทอ วิทยานิพนธ์ เป็นต้น
- หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ

- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและประชาสัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

7. ผลงานทางวิชาการ (ภาษาอังกฤษ)
1. Silk Degumming using Trypsin, Alkali with and without surface active agents followed by Trypsin, and alkali alone.  Investigated by gravimetric and scanning electron micro-scope methods., M.Sc. Dissertation, The University of Leeds, Leeds, 1993.

2. Molecular Weights of Polypeptide Fragments from Degraded Silk Fibroin, Ph.D. Thesis, The University of Leeds, Leeds, 1997.

3. Substructure from the ordered region of Bombyx  mori Silk Fibres, 662nd Meeting, University of Dundee, The Biochemical Society, London, 1997, p. S637.
4. Feasibility Study of using Thai Silk Fabric as a Bulletproof Vest, Research Project, Rajamangala Institute of Technology and Royal Thai Army's Research Institute, Bangkok, 1999.
5. Retarder Systems for Anti-mine Field Missiles (Little Viper), Research Project, Rajamangala Institute of Technology and Royal Thai Army's Research Institute, Bangkok, 1999. Click here for Thai Version of Anti-mine Field Missiles

 

8. ผลงานทางวิชาการ (เคมีสิ่งทอ - อุตสาหกรรมฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่ง) เหมาะสำหรับนักศึกษาเคมีสิ่งทอ เสื้อผ้า สิ่งทอ และผู้สนใจในสาขาวิชาชีพสิ่งทอ โรงงานฟอกย้อม พิมพ์ ตกแต่งสิ่งทอ)


1. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชากระบวนการทางเคมีสิ่งทอ 1, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ,คณะวิศวกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2542 หน้า 1-105.

เนื้อหา: บทนำทั่วไปเกี่ยวกับการเตรียมผ้าและเส้นใย, การคำนวณที่ใช้ในกระบวนการทางเคมีสิ่งทอ, น้ำที่ใช้ในกระบวนการทางเคมีสิ่งทอ, การเตรียมผ้าฝ้าย และใยผสม, การเซตตัวด้วยความร้อน, การเผาขน, การลอกแป้ง, การทำความสะอาด, การฟอกขาว, การเมอร์เซอร์ไรซ์ และการคอสติกไซซ์, การเติมสารฟอกนวล, การนำน้ำ พลังงาน และเคมีภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่

เหมาะสำหรับ: ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอ จนถึงพนักงานในโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอ (แผนกเตรียมสิ่งทอ)
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย จนถึงปานกลาง

2. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนเรื่องการย้อมสีแบบต่อเนื่องสำหรับผ้าใยผสมพอลิเอสเตอร์และเซลลูโลส, พิมพ์ครั้งที่ 2, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ, คณะวิศวกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2542 หน้า 1-132.
เนื้อหา: ขอบเขตการย้อมสี, การทำให้สีติด, การผนึกสี, สีดิสเพิร์ส, สีซัลเฟอร์, สีรีแอคทีฟ, สารฟอกนวล, สีแนฟธอล, สีวัต, การทำงานของระบบการย้อมแบบต่อเนื่อง, กระบวนการเตรียมผ้าก่อนย้อม, วิธีตัดสินผลของการ Treat ก่อนการย้อมทุกกรรมวิธี, การเซตตัวด้วยความร้อน, วิธีการย้อมแบ่งโดยพิจารณาจากกระบวนการย้อม, การย้อมด้านพอลิเอสเตอร์ด้วยกระบวนการ Thermosol, คำแปลศัพท์เทคนิค
เหมาะสำหรับ: ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอ จนถึงพนักงานในโรงงานย้อมสิ่งทอ (แผนกย้อมแบบต่อเนื่อง)
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง

3. อภิชาติ สนธิสมบัติ และสุรพล ตรงต่อศักดิ์ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชากระบวนการทางเคมีสิ่งทอ 2, พิมพ์ครั้งที่ 2, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2542 หน้า 1-150.
เนื้อหา: สีและการมองเห็นของตามนุษย์, ทบทวนสมบัติของเส้นใยสิ่งทอ, การเตรียมวัสดุสิ่งทอ, สีและการจำแนกสี, พื้นฐานที่นักศึกษาต้องใช้ในการปฏิบัติการย้อมสี,

การจำแนกสีย้อม และกระบวนการทำให้วัสดุสิ่งทอติดสี, สีย้อมเส้นใยเซลลูโลส, สีย้อมสำหรับเส้นใยสังเคราะห์, สีที่ไม่ละลายน้ำ, สัญลักษณ์สากลของป้ายสำหรับการดูแลรักษาเสื้อผ้า,การพิมพ์สิ่งทอ, การตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ
เหมาะสำหรับ: ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอ จนถึงพนักงานในโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย จนถึงปานกลาง


4. Parys, M. C., ER3: Concept in Modern Dyeing, Department of Textile and Chemical Engineering, Faculty of Engineering Technology, Rajamangala Institute of Technology, 1992. (แปลและเรียบเรียงโดย อภิชาติ สนธิสมบัติ และวัฒนชัย ตรุศบรรจง, เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ ณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมีและสิ่งทอ คณะวิศวกรรมเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล)

เนื้อหา: บทนำ, การเน้นด้านการตลาด, แนวความคิด (ER)3 ของการย้อมสมัยใหม่ (ด้านสีย้อม กระบวนการย้อม และกระบวนการหลังการย้อม), บทสรุป
เหมาะสำหรับ: พนักงานในโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอ จนถึงผู้บริหารโรงงาน และเจ้าของโรงงาน
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง จนถึงยาก

5. อภิชาติ สนธิสมบัติ และสมประสงค์ ภาษาประเทศ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เส้นใย ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2541 หน้า 1-16.
เนื้อหา: การจำแนกเส้นใยชนิดต่างๆ, เส้นใยเซลลูโลส และเส้นใยสังเคราะห์บางชนิด
เหมาะสำหรับ: ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอ จนถึงพนักงานในโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย (เป็นพื้นฐานของกระบวนการฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ)

6. Holme, I., The Method of Improvement Productivity and Quality in Dyeing and Finishing Factory, Seminar in Garments & Textile Asia'90, July 5-8, 1990. (แปลและเรียบเรียงโดย ชัยยุทธ ช่างสาร และอภิชาติ สนธิสมบัติ)
เนื้อหา: บทนำ, การปรับปรุงและเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในการย้อม (ด้านกระบวนการเตรียมผ้า การย้อมสี) บทสรุป
เหมาะสำหรับ: พนักงานในโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอ จนถึงผู้บริหารโรงงาน และเจ้าของโรงงาน
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง

7. อภิชาติ สนธิสมบัติ และ สุรพล ตรงต่อศักดิ์ ในหัวข้อเรื่อง การปรับปรุงประสิทธิภาพ และการเพิ่มผลผลิตในโรงย้อม, เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการ เรื่องการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการเพิ่มผลผลิตในโรงย้อม, วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2541 ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
เนื้อหา: วัตถุดิบทางด้านสิ่งทอ (ดร.สมประสงค์), การผลิตผ้าเบื้องต้น (ดร.สมนึก), การปรับปรุงประสิทธิ-ภาพและการเพิ่มผลผลิตในโรงย้อม (ดร.อภิชาติ และ อ.สุรพล) และการควบคุมคุณภาพในโรงย้อม (อ.ประเสริฐ)
การปรับปรุงประสิทธิภาพและการเพิ่มผลผลิตในโรงย้อม
บทนำ, แนวความคิด, ปัจจัยที่ทำให้เกิดการย้อมสีถูกต้องในครั้งแรก, การย้อมสี, ปัจจัยสำคัญสำหรับการเลือกสีย้อม หรือกระบวนการย้อมสี, การพัฒนาผลิตภัณฑ์สำหรับปี 2000 สำหรับประเทศอังกฤษ, กฎหมายเกี่ยวกับ AOX, กระบวนการที่ได้รับการพัฒนา และกระบวนการใหม่ๆ, ฯลฯ
เหมาะสำหรับ: พนักงานในโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอ จนถึงผู้บริหารโรงงาน และเจ้าของโรงงาน
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง จนถึงยาก

8. อภิชาติ สนธิสมบัติ, คู่มือนักย้อมสี: ข้อมูลที่สำคัญที่นักศึกษาเคมีสิ่งทอควรรู้, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2542 หน้า 1-84.
เนื้อหา: หน่วย SI, ชื่อสารเคมี และสูตรเคมีของสารที่ใช้ในโรงงานฟอกย้อม, แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่สำคัญๆ สำหรับการย้อมสี, วัสดุสิ่งทอ, คำนิยาม, การทดสอบวัสดุสิ่งทอหลังการเตรียม, ค่าความกระด้างของน้ำ, การคำนวณในโรงย้อม, ประเภทเครื่องจักรในการย้อม ฯลฯ
เหมาะสำหรับ: เป็นคู่มือของนักศึกษาเคมีสิ่งทอ พนักงานในโรงงาน และผู้บริหารโรงงาน
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง

9. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการวิเคราะห์ระบบทางเคมีสิ่งทอเชิงวิศวกรรม (หัวข้อเรื่องการปรับปรุง และเพิ่มผลผลิตในโรงย้อม), ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2542, หน้า 1-57.
เนื้อหา: บทนำ, แนวความคิด, ปัจจัยที่ทำให้เกิดการย้อมสีถูกต้องในครั้งแรก, การย้อมสี, ปัจจัยสำคัญสำหรับการเลือกสีย้อม หรือกระบวนการย้อมสี, การพัฒนาผลิตภัณฑ์สำหรับปี 2000 สำหรับประเทศอังกฤษ, กฎหมายเกี่ยวกับ AOX, กระบวนการที่ได้รับการพัฒนา และกระบวนการใหม่ๆ, ฯลฯ
เหมาะสำหรับ: พนักงานในโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอ จนถึงผู้บริหารโรงงาน และเจ้าของโรงงาน
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง จนถึงยาก

10. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องการย้อมเส้นใยพอลิเอสเตอร์ และเส้นใยไนล่อน, สัมมนาที่ บริษัท พี.แอล. จอห์น อินดัสทรีส์ จำกัด วันที่ 29 ตุลาคม 2542 และ 6 พฤศจิกายน 2542, หน้า 1-86.
เนื้อหา: วัสดุสิ่งทอ, เส้นใยสังเคราะห์, สีดิสเพิร์ส, สีแอซิด, สีเมทัลคอมเพล็กซ์, เครื่องย้อมชนิดต่างๆ, การควบคุมคุณภาพในห้องทดลอง, การควบคุมคุณภาพในโรงย้อม ฯลฯ
เหมาะสำหรับ: พนักงานในโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอ (เส้นใยพอลิเอสเตอร์ และเส้นใยไนล่อน)
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย จนถึง ปานกลาง


11. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องการทำความสะอาดและการฟอกขาวเส้นใยโปรตีน และเส้นใยสังเคราะห์, สัมมนาที่ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ร่วมกับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรสิ่งทอ, 14 และ28 สิงหาคม 2542, หน้า 1-37.
เนื้อหา: เส้นใยไหม และเส้นใยขนสัตว์, การทำความสะอาด, การฟอกขาวเส้นใยโปรตีน, การคาร์บอไนซิ่ง ฯลฯ

เหมาะสำหรับ: พนักงานในโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอ (เส้นใยโปรตีน และเส้นใยสังเคราะห์)
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย จนถึงปานกลาง

12. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องบรรยายภาพรวมการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ, สัมมนาที่วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ร่วมกับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรสิ่งทอ, 30 ตุลาคม 2542, หน้า 1-35.
เนื้อหา: การตกแต่งเชิงกล และการตกแต่งด้วยสารเคมี
เหมาะสำหรับ: พนักงานในโรงงานตกแต่งสิ่งทอ และนักออกแบบสิ่งทอ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย จนถึงปานกลาง

13. อภิชาติ สนธิสมบัติ, คู่มือรวบรวมที่อยู่ของเว็บไซต์ต่างๆ ทางด้านสิ่งทอ เคมีสิ่งทอ เสื้อผ้าสำเร็จรูป แฟชั่นเส้นใยสังเคราะห์ วัสดุศาสตร์ หน่วยงานราชการไทย และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคนไทย หรือคนไทยเป็นเจ้าของ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2543, หน้า 1-47.
เนื้อหา: เป็น Link สำหรับเว็บไซต์ต่างๆ จำนวนประมาณ 2,000 เว็บ แบ่งเป็นหมวดหมู่ (ภายในเรียงตามลำดับตัวอักษร)
เหมาะสำหรับ: นักศึกษา พนักงาน ผู้บริหารโรงงาน นักออกแบบสิ่งทอ และผู้สนใจ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย

14. อภิชาติ สนธิสมบัติ, หลักการพิมพ์เสนอโครงการวิชา PRE-PROJECT, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2543, หน้า 1-12.
เนื้อหา: หลักเกณฑ์ในการเสนอโครงการ, จรรยาบรรณนักวิจัย, จรรยาบรรณวิศวกร

เหมาะสำหรับ: นักศึกษา และนักวิจัยที่ต้องการเขียนขอโครงการ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย

15. อภิชาติ สนธิสมบัติ, หลักการพิมพ์เสนอโครงการวิชา PROJECT, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2544, หน้า 1-24.
เนื้อหา: แบบฟอร์มในการพิมพ์เสนอวิทยานิพนธ์ ของสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ (ตามโครงการประกันคุณภาพการศึกษา)
เหมาะสำหรับ: นักศึกษา และนักวิจัยที่ต้องการเขียนขอโครงการ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย


16. อภิชาติ สนธิสมบัติ และสมประสงค์ ภาษาประเทศ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เส้นใย,
ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2543, หน้า 1-113.
เนื้อหา: บทนำเกี่ยวกับคำนิยาม และคุณสมบัติที่สำคัญของเส้นใย, การจำแนกเส้นใยชนิดต่างๆ, เส้นใยเซลลูโลส (ฝ้าย แฟล็กซ์), เส้นใยโปรตีน (เส้นใยขนสัตว์ โมแฮร์, ขนอูฐ, ขนแพะ, ขนเฟอร์, ไหม), เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ (วิสโคส และอะซิเตด), เส้นใยสังเคราะห์ (พอลิเอสเตอร์, พอลิเอไมด์, อะไครลิก, ยางยืด)
เหมาะสำหรับ: ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอ จนถึงพนักงานในโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย (เป็นพื้นฐานของกระบวนการฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ)

17. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชากระบวนการพิมพ์วัสดุสิ่งทอ, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2543, หน้า 1-76.
เนื้อหา: บทนำเกี่ยวกับการพิมพ์สิ่งทอ, ผ้าขึงสกรีน, กรอบสกรีน, การขึงผ้าขึงสกรีนบนกรอบสกรีน และการเคลือบกาวอัด, การทำแม่พิมพ์, แป้งพิมพ์ และการเตรียมแป้งพิมพ์, การเตรียมผ้าก่อนพิมพ์, การพิมพ์สิ่งทอบนวัสดุ, การทำแห้ง และการผนึกสีบนวัสดุ, กระบวนการซักล้างและกำจัดสีส่วนเกินออกจากวัสดุที่พิมพ์แล้ว
เหมาะสำหรับ: ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอ จนถึงพนักงานในโรงงานพิมพ์สิ่งทอ (เน้นซิลค์สกรีน)

ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย จนถึงปานกลาง

18. สุชาติ อินทรโชติ และอภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาสารช่วยทางสิ่งทอ, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2543, หน้า 1-103.
เนื้อหา: สารช่วยทางเคมีสิ่งทอ เฉพาะสารเคมีที่นิยมใช้ ประมาณ 37 ชนิด รวมถึงการใช้งานของสารในงานเคมีสิ่งทอ
เหมาะสำหรับ: นักศึกษาเคมีสิ่งทอ และผู้มีพื้นฐานทางเคมีดีพอสมควร
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง จนถึงยาก (บางช่วงยากมาก)

19. สุชาติ อินทรโชติ และอภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชากระบวนการย้อมสีสิ่งทอ 2, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2544, หน้า 1-71.
เนื้อหา: เส้นใยพอลิเอสเตอร์, การย้อมเส้นด้ายพอลิเอสเตอร์เพื่อผิวสัมผัส, การย้อมเส้นใยผสมพอลิเอสเตอร์ผสมเซลลูโลส, เครื่องย้อมผืนผ้า (แบบต่อเนื่อง และแบบดูดซึม), การคำนวณต้นทุนการผลิต ฯลฯ
เหมาะสำหรับ: ผู้ที่อ่านเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชากระบวนการทางเคมีสิ่งทอ 1 และ 2 มาก่อน
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ปานกลาง

20. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาระบบการตกแต่งสิ่งทอ 2, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2544, หน้า 1-118.
เนื้อหา: การตกแต่งเชิงกล และการตกแต่งเชิงเคมี สำหรับเส้นใยเซลลูโลส ใยโปรตีน และใยสังเคราะห์

เหมาะสำหรับ: ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอ จนถึงพนักงานในโรงงานตกแต่งสิ่งทอ และนักออกแบบสิ่งทอ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย จนถึงปานกลาง


21. อภิชาติ สนธิสมบัติ, คู่มือรวบรวมที่อยู่ของเว็บไซต์ต่างๆ ด้านสิ่งทอและเคมีสิ่งทอ (เล่มที่ 2), ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2545, หน้า 1-59.
เนื้อหา: เป็น Link สำหรับเว็บไซต์ต่างๆ จำนวนประมาณ 2,000 เว็บ แบ่งเป็นหมวดหมู่ (ภายในเรียงตามลำดับตัวอักษร) ต่อจากเล่มแรก
เหมาะสำหรับ: นักศึกษา พนักงาน ผู้บริหารโรงงาน นักออกแบบสิ่งทอ และผู้สนใจ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย

22. อภิชาติ สนธิสมบัติ, กระบวนการทางเคมีสิ่งทอ (Textile Chemical Processing) คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2545, หน้า 1-327.
เนื้อหา: เส้นใยทางสิ่งทอ, การคำนวณด้านเคมีสิ่งทอ, การเตรียมวัสดุสิ่งทอ, การย้อมสีวัสดุสิ่งทอ, การพิมพ์วัสดุสิ่งทอ, การตกแต่งวัสดุสิ่งทอ, สัญลักษณ์การดูแลรักษาเสื้อผ้า และคำศัพท์เคมีสิ่งทอ
เหมาะสำหรับ: นักศึกษาวิศวกรรมสิ่งทอ, เคมีสิ่งทอ, เสื้อผ้าสำเร็จรูป นักศึกษาคหกรรมศาสตร์, ผ้าและเครื่องแต่งกาย นักศึกษาที่สนใจ พนักงาน ผู้บริหารโรงงานสิ่งทอ

ฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ หรือผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปนักศึกษา และผู้สนใจ
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย


ราคา 300 บาท

23. อภิชาติ สนธิสมบัติ, ระบบการย้อมสิ่งทอ 1 (เครื่องย้อมวัสดุสิ่งทอ), คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2545, หน้า 1-59.
เนื้อหา: การจำแนกเครื่องจักรที่ใช้ในการย้อมสีสิ่งทอ (ตามกระบวนการย้อม), การจำแนกเครื่องจักรที่ใช้ในการย้อมสีสิ่งทอ (ตามลักษณะของวัสดุสิ่งทอ), การย้อมเส้นใย, การย้อมเส้นใยลักษณะสไลเวอร์, การย้อมเส้นด้าย, การย้อมผืนผ้า, การย้อมเสื้อผ้าสำเร็จรูป
เหมาะสำหรับ: นักศึกษาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ และผู้สนใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการย้อมสี
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย-ปานกลาง

24. อภิชาติ สนธิสมบัติ, ข้อมูลความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้สารเคมีด้านสิ่งทอ (Textile Material Safety Data Sheet; TMSDS), คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2545, หน้า 1-205.
เนื้อหา: ชื่อทั่วไป ข้อมูลทางกายภาพ ความเสถียรภาพในการเก็บรักษา อันตรายต่อร่างกายมนุษย์ คำอธิบายความเสี่ยงต่ออันตราย การป้องกันอันตรายส่วนบุคคล คำอธิบายด้านความปลอดภัย ของสารเคมีด้านสิ่งทอ เรียงตั้งแต่ A-Z จำนวนประมาณ 170 ตัวหลักๆ และเพิ่มกรณีศึกษาเรื่องความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรมฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ จำนวน 31 เรื่อง เพื่อเตือนความทรงจำ พนักงาน ผู้จัดการ และเจ้าของโรงงาน มิให้ประมาท เพราะอาจเกิดอันตราย และส่งผลกระทบกับชื่อเสียงของโรงงานตนเองได้
เหมาะสำหรับ: นักศึกษาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ ผู้สนใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการย้อมสี ผู้จัดการโรงงาน และเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม
ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย

25. อภิชาติ สนธิสมบัติ, การจัดทำกิจกรรม 5ส และการจัดทำระบบคุณภาพ ISO 9001:2000, คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2546, หน้า 1-15 และหน้า 1-34.
เนื้อหา: เกี่ยวกับการจัดทำกิจกรรม 5ส (สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ สร้างนิสัย) และการจัดทำระบบคุณภาพ ISO 9001:2000
เหมาะสำหรับ: นักศึกษาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ ผู้สนใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการย้อมสี ผู้จัดการโรงงาน และเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม

ระดับความยากง่ายในการเข้าใจ: ง่าย

26. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง "การทำความสะอาดสิ่งทอ", คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2547, หน้า 1-51.

เนื้อหา: การทำความสะอาดวัสดุสิ่งทอ, สมบัติของสบู่ สบู่สังเคราะห์, วิธีการเลือกสบู่สังเคราะห์ที่ใช้ในงานสิ่งทอ, การทำความสะอาดเส้นใยขนสัตว์, การทำความสะอาดเส้นใยไหม (การลอกกาวไหม)

27. อภิชาติ สนธิสมบัติ, วีดีโอซีดี เรื่อง "นาโนเทคโนโลยีสำหรับงานสิ่งทอ", คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล, 2547, 1 แผ่น (59 นาที). และ อภิชาติ สนธิสมบัติ, เอกสารประกอบการประชุมประจำปี สวทช . เรื่อง “ นาโนเทคโนโลยี ความท้าทายของประเทศไทย ” หัวข้อเรื่อง “ นาโนเทคโนโลยีในงานด้านสิ่งทอ และงานที่เกี่ยวข้อง ” (ภาพสี)

28. Sonthisombat, A. and Speakman, P.T., "Silk : Queen of Fibres - The Concise Story", Faculty of Engineering, RIT, 2004, pp. 1-28.

29. อภิชาติ สนธิสมบัติ, เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ต, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี, 2548, หน้า 1-17. (ภาพสี)

30. อภิชาติ สนธิสมบัติ, Hot Textile Websites, สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ พระโขนง กรุงเทพฯ, 2548, หน้า 1-128. (ภาพสี + CD ROM 1 แผ่น) ราคา 150 บาท สนใจติดต่อคุณสว่างจิตต์ โทร. 0 2713 5492-9.

 

เนื้อหา: หนังสือรวมสุดยอดเว็บไซต์สิ่งทอทั่วโลก Hot Textile Websites คัดสรรเว็บไซต์มาจำนวนกว่า 900 เว็บ เหมาะสำหรับ ผู้ประกอบการโรงงาน อุตสาหกรรมสิ่งทอ นักศึกษา ผู้สนใจด้านสิ่งทอ

31. อภิชาติ สนธิสมบัติ, การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ + เทคโนโลยีสะอาด โครงการ ITAP สวทช. ปทุมธานี จำนวนหน้าประมาณ 300 หน้า (เอกสารประกอบการสัมมนาวันที่ 26-27 พฤษภาคม พ.ศ. 2548)

32. สุดยอด...เทคนิคการจัดการในโรงย้อมและโรงพิมพ์สิ่งทอ (2549)

33. Functional Textiles: Nanotechnology Approaches (ภาษาไทย-2549) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี, 2549, ภาพสี

34. การเตรียมเส้นใยไหม (Sheet)

35. การวิเคราะห์เส้นใยชนิดต่างๆ

36. CT เทคโนโลยีสะอาดสำหรับโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี, 2550, หน้า 1-66

บทที่ 1 เทคโนโลยีสะอาดในงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ

บทที่ 2 การจัดทำกระบวนการผลิตสะอาดกว่าในกระบวนการเตรียมวัสดุสิ่งทอ

บทที่ 3 การจัดทำกระบวนการผลิตสะอาดกว่าในกระบวนการย้อมวัสดุสิ่งทอ

บทที่ 4 การจัดทำกระบวนการผลิตสะอาดกว่าในกระบวนการพิมพ์วัสดุสิ่งทอ

บทที่ 5 การประเมินกระบวนการผลิตสะอาดกว่า

37. รายงานสรุปผลการทัศนศึกษาดูงาน โครงการปรับปรุงเทคโนโลยีและเพิ่มผลผลิต ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ITMA 2007 Germany และ

Politecnico di Torino Sede di Biella, Italy (2551)

38. 108 ปัญหาในโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ เล่มที่ 1 (ฟอกย้อมสิ่งทอ) (2553)

39. 108 ปัญหาในโรงงานฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ เล่มที่ 2 (ตกแต่งสิ่งทอ) (2554)

ดาวน์โหลด ใบสั่งซื้อ ที่นี่ครับ http://www.ttcexpert.com/order_form/pricelistnew.doc

-------------------------------------------------

หมายเหตุ

- เนื้อหาที่เขียนไว้เป็นการจัดแบบคร่าวๆ ห้ามมิให้ผู้ใดลอกและจัดลำดับเนื้อหาแบบเดียวกับหนังสือที่ ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ เขียนไว้ในที่นี้
- เอกสารทั้งหมด ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ ขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามมิให้ผู้ใด คัดลอก ถ่ายรูป พิมพ์ หรืออัดสำเนาโรเนียวหนังสือทั้งเล่ม หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ เว้นแต่จะได้ตกลง และยินยอมจากผู้เขียนก่อน (มิฉะนั้นจะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายที่บัญญัติไว้สูงสุด โดยไม่มีการประนีประนอมยอมความใดๆ ทั้งสิ้น

สนใจหนังสือเหล่านี้ กรุณาติดต่อ คุณกาญจนา สาลี
โทร. 0 2549 3565 วันเวลาราชการเท่านั้น!


-------------------------------------------

Copyright @ 2017

ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 16-11-2017